หมวดหมู่: ไม่มีหมวดหมู่

ประวัติวัดไผ่ล้อม  จังหวัดตราด 

ที่ตำบลบางพระ   อำเภอเมือง  ของ  จังหวัดตราด   มีวัดเก่าแก่แห่งหนึ่ง  

ซึ่งมีความสวยงามและถูกสร้างมาตั้งแต่สมัยตอนต้นของกรุงรัตนโกสินทร์   โดยวัดแห่งนี้นั้นมีสิ่งก่อสร้างสวยเยอะแยะมากมายไม่ว่าจะเป็นเจดีย์หรือแม้แต่สวนพุทธธรรมซึ่งเป็นสวนป่าที่ทางวัดได้มีการจัดสวนเอาไว้นอกจากนี้ยังมีพิพิธภัณฑ์ 3 ท่านเจ้าคุณอีกด้วย โดยวัดดังกล่าว นั้นชื่อว่าวัดไผ่ล้อมซึ่งในบทความนี้เราจะมาพูดถึงประวัติความเป็นมาของวัดไผ่ล้อมกันจุดเริ่มต้นของการสร้างวัดไผ่ล้อมนั้นเป็นมาอย่างไร 

         อย่างไรก็ตามเบื้องต้นในการสร้างวัดไผ่ล้อมขึ้นมานั้นก็เพื่อให้เป็นสถานที่ที่อยู่อาศัยของพระสงฆ์และเป็นสถานที่ที่ใช้สำหรับในการเผยแพร่พระพุทธศาสนา โดย วัดไผ่ล้อมนี้ยังมีพระบรมสารีริกธาตุของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าบรรจุอยู่ในเจดีย์ทรงระฆังคว่ำแปดเหลี่ยม  และนับตั้งแต่ที่มีการสร้างวัดไผ่ล้อมขึ้นมานั้นประชาชนก็ให้ความเคารพนับถือเดินทางมาทำบุญกันทุกวันโดยเฉพาะอย่างยิ่งการทำบุญในเทศกาลที่เกี่ยวข้องกับทางพระพุทธศาสนา

           อย่างไรก็ตามมาถึงช่วงของพระวิมลเมธาจารย์ วรญาณคณานุรักษ์  สังฆปาโมกข์  เจ้าอาวาสอยู่ที่วัดไผ่ล้อมแห่งนี้นั้นปรากฏว่าได้ถูกแต่งตั้งให้เป็นครูสอนหนังสือดังนั้นพระวิมลเมธาจารย์ จึงใช้วัดไผ่ล้อมแห่งนี้เป็นสถานที่สอนหนังสือโดยมีการตั้งชื่อว่าสำนักสอนหนังสือไทยวัดไผ่ล้อม

ประวัติวัดไผ่ล้อม ซึ่งพระวิมลเมธาจารย์ วรญาณคณานุรักษ์ สังฆปาโมกนั้นนับได้ว่าเป็นพระสงฆ์องค์แรกที่ได้มีการสอนหนังสือจึงได้ถูกแต่งตั้งเป็นพระบิดาแห่งการศึกษาประจำจังหวัดตราดและโรงเรียนแห่งแรกที่สอนหนังสืออย่างเป็นทางการในจังหวัดตราดนั้นก็คือสำนักสอนหนังสือไทยวัดไผ่ล้อมแห่งนี้นั่นเอง 

           อย่างไรก็ตามวัดไผ่ล้อมแห่งนี้เกี่ยวข้องกับการเผยแพร่หลักคำสอนและพระพุทธศาสนาเยอะแยะมากมายเลยทีเดียวนอกจากที่วัดไผ่ล้อมแห่งนี้จะเป็นสถานที่สอนหนังสือแห่งแรกแล้วยังถูกจัดตั้งเป็นโรงเรียนสอนภาษาบาลีให้แก่พระสงฆ์อีกด้วยซึ่งถือได้ว่าวัดไผ่ล้อมแห่งนี้เป็นโรงเรียนสอนนักธรรมแผ่นแรกของจังหวัดตราดเลยก็ว่าได้ดังนั้นวัดไผ่ล้อมจึงมีความสำคัญทางพระพุทธศาสนามากที่สุดในจังหวัดตราดเลยทีเดียว

     บรรยากาศโดยรวมภายในวัดไผ่ล้อมแห่งนี้นั้นค่อนข้างที่จะมีความเงียบสงบและมีความร่มรื่นเป็นอย่างมากซึ่งก็สร้างที่อยู่ในอาณาเขตพื้นที่ของบริเวณวัดไผ่ล้อมนั้นก็มีความงดงามตั้งแต่ศาลาริมน้ำนอกจากนี้ภายในวัดไผ่ล้อมยังมีป่าสวนรวมถึงมีสัตว์เล็กๆและปลาเพื่อให้ผู้ที่มาปฏิบัติธรรมที่วัดนั้นได้พักผ่อนจิตใจและร่างกายรวมถึงยังได้ชมสถาปัตยกรรมที่มีความงดงามของวัดไผ่ล้อมอีกด้วย

 

สนับสนุนโดย  สมัคร sbobet โดยตรง

ศิลปะ ประเพณีและวัฒนธรรมอินเดีย

ศิลปะ ประเพณีและวัฒนธรรมอินเดีย

 

ศิลปะ ประเพณีและวัฒนธรรมอินเดีย ที่มีมาอย่างยาวนานตั้งแต่โบราณ เป็นต้นแบบประเพณี ศิลปะและวัฒนธรรมที่แพร่กระจายไปตามที่ต่างๆทั่วโลก อินเดียเป็นประเทศที่ผู้คนต่างให้ความศรัทธาและความเชื่อให้ศาสนาอย่างแรงกล้า เพราะประเทศอินเดียถือเป็นแหล่งกำเนิดศาสนาที่สำคัญของโลกหลายศาสนา และศาสนาพุทธก็เช่นเดียวที่มีอิทธิพลแพร่ขยายเข้ามาสู่แผ่นดินสุวรรณภูมิตั้งแต่โบราณ

นอกจากศาสนาที่ได้รับมาจากประเทศอินเดียแล้ว ทั้งประเพณีและวัฒนธรรมก็ถูกส่งผ่านมาทางศาสนาอีกด้วย

แม้กระทั่งวรรณกรรมต่างๆที่ถูกเหล่าขานกันมาจนกลายเป็นมรดกล้ำค่าไม่สามารถชมได้ทั่วไปอย่างเช่นโขนโขนเป็นศิลปะทางการแสดงแขนงหนึ่งที่มีต้นกำเนิดเรื่อง จากวรรณที่เป็นอมตะอย่างรามเกียรติซึ่งมีต้นกำเนิดมาจากรามายณะวรรณคดีมหากาพย์ที่เล่าขานสืบต่อกันมายาวนานหลากหลายพื้นที่ของชมพูทวีป

การแสดงโขนจะแสดงเพียงรามเกียรติเพียงเรื่องเดียวเท่านั้น และจะแบ่งแยกออกเป็นตอนๆไป ศิลปะการแสดงโขนไม่ได้ถูกแสดงในประเทศไทยเท่านั้น แต่ยังมีการแสดงแบบนี้ในลักษณะเดียวกันนี้กะจายไปตามที่ต่างๆในแทบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้อย่างเช่นในประเทศหกัมพูชา และอินโดนีเซียก็มีการแสดงโขนเช่นเดียวกัน

ดังนั้นจึงถือได้ว่าประเทศอินเดียเป็นแหล่งอารยธรรมที่มีอิทธิพลอย่างในแทบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ของเรา 

นอกจากวรรณกรรมที่ถูกถ่ายทอดและส่งต่อไปยังสถานที่ต่างๆทั่วเอเชียตะวันออกเฉียงใต้แล้ว

ปติมากรรมต่างๆ ทั้งภาพวาด การปั้น หรือแม้โบราณสถานต่างๆ ที่เกิดขึ้นนั้นก็ยังได้รับอิทธิพลมากจากประเทศอินเดีย ปติมากรรมที่แสดงได้อย่างเด่นชัด และทรงอิทธิพลทางด้านวัฒนธรรมอย่างแท้จริงนั่นก็คือรูปปั้นพระพุทธรูปพระพุทธรูปถือเป็นตัวแทนขององค์ศาสดาแห่งศาสนาพุทธที่ถูกรังสรรค์ขึ้นเป็นตัวแทนของพระพุทธองค์

เพื่อเอาไว้เป็นสักการะบูชาแก่พุทธศาสนิกชนชาวพุทธ รูปปั้น พระพุทธรูปถูกทำขึ้นและแพร่กระจายไปตามความศรัทของคนที่นับถือศาสนาพุทธ ทั้งในประเทศไทย พม่า และกัมพูชา ที่ประชากรส่วนใหญ่จะนับถือศาสนาพุทธ

 

ประเพณีต่างๆที่ถูกสืบทอดกันมาอย่างช้านาน การนับถือศาสนาและความเชื่อที่ถูกส่งต่อมานั้น ไม่เพียงแค่ถูกต่อทางความเชื่ออย่างเดียวและยังถูกถูกถ่ายทอดวิถีปฏิบัติ การนับถือการบูชา ประเพณีที่เห็นได้อย่างเด่นชัดในไทยที่เป็นพิธีกรรมความเชื่อความศรัมธาของผู้คนในไทยที่มีต่อเทพเจ้าฮินดูนั่นก็คืองานนวราตรีเป็นพิธีกรรมที่ถูกเกิดจากแรงศรัทธาของผู้ที่นับถือพระแม่อุมาเทวีเป็นพิธีกรรมที่จัดขึ้นเพื่อสรรเสริญในพระบารมีของพระแม่อุมาเทวี เพื่อขอพรและให้สิ่งศักดิ์สิทธิ์ปกปักรักษา เป็นความเชื่อส่งถูกถ่ายทอดมาจากศาสนาพาร์มฮินดู ซึ่งมีต้นกำเนิดมาจากประเทศอินเดีย ซึ่งงานจะถูกจัดขึ้นในทุกๆปีบริเวณห้าวัดแขก และถูกแห่ไปตามทางถนนเส้นสีลม เพื่อเป็นการบูชาและสรรเสริญพระแม่อุมาเทวีทั้ง 9 ปาง เหตุที่จะต้องจัดงานขึ้นในช่วง วันที่ 10-19 ตุลาคม ของทุกปีนั้น เพราะเชื่อกันว่าช่วงเวลานี้เป็นช่วงเวลาที่คนส่วนใหญ่มักจะประสบปัญหา เคราะห์กรรม โรคร้ายต่างๆ หรือถึงขั้นสูญเสียสิ่งที่รักในชีวิตไป และเพื่อความร่มเย็นและเป็นสิริมงคลและช่วยคุ้มครองชีวิตตนเองและคนที่รัก จึงจำเป็นต้องปฏิบัติพืธีกรรมนี้อย่างบริสุทธิ์ใจ